บทความ

งานครั้งที่ 5 ระบบควบคุณภาพในสถานประกอบการ

บริษัทฯ ได้ให้ความสําคัญต่อการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพก่อนออกสู่ผู้บริโภค เราใส่ใจผู้บริโภคโดยการลดการใช้สารอันตราย ในกระบวนการผลิตรวมถึงควบคุมการผลิตสินค้าให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ทั้งนี้บริษัทฯได้รับการรับรองจาก หน่วยงานต่างๆเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าและผู้บริโภคดังต่อไปนี้ -  การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบตามข้อกําหนดของ มอก. 17025:2548                                    (ISO/IEC   17025:2005 )จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - OHSMS 18001 Version 2007 จาก WIT Assessment - ISO 9001 Version 2008 จาก WIT Assessment - ISO/TS16949 Version 2009 จาก AFNOR Certification - TL9000 : R5.0/R4.5 Type TL9000-H จาก WIT Assessment มาตรฐาน ISO 9001 ISO 9001 เป็นมาตรฐานสากลที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ และความมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานภายในองค์กร ISO 9001 จึงเป็นระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานสากล แนวคิดสำคัญของ ISO 9001 คือการจัดวางระบบบริหารงานเพื่อการประกันคุณภาพ ซึ่งเป็นระบบที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ากระบวนการต่างๆ ได้รับการควบคุมและส

งานครั้งที่ 3 ในสถาที่ฝึกงานของ นศ มีกิจกรรมควบคุมความเสี่ยงอย่างไร

กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ในสถานประกอบการ บริษัทแคลคอมพ์อีเล็คโทรนิคส์ นั้นมีการจัดการกับความเสี่ยง  โดย 1.กำหนดการส่งเครื่องจักรขึ้นโรงงานก่อนกำหนด เพื่อหากเครื่องจักรมีปัญหาก็จะสามารถเเก้ไขได้ทันทวงที 2.มีการจัดกิจกรรรมอบรมการดับเพลิงความรู้เรื่องการใช้ถังดับเพลิง เเละมีการซ้อมหนีไฟ 3.มีการจัดเเบ่งงานกันอย่างชัดเจน 

งานครั้งที่ 4 นักศึกษา มีวิธีการจัดการแก้การขัดแย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานอย่างไร

เผชิญหน้ากับความขัดแย้ง  ⏪                ต้องกล้าเผชิญกับปัญหาและหาวิธีการจัดการกับความ  ขัดแย้งให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม โดยพยายาม ลดอคติส่วนตัวลงและหาทางออกให้แก่ตนเองและอีกฝ่ายหนึ่ง      2.  ทำความเข้าใจสถานภาพของแต่ละฝ่าย  ⏪                  การหาสาเหตุที่แท้จริงของความขัดแย้ง การศึกษาอารมณ์ความรู้สึกของแต่ละฝ่าย พยายามชี้ให้เห็นว่าถ้า แต่ละ ฝ่ายไม่ให้ความร่วมมือในการ แก้ไขปัญหา ความขัดแย้งก็จะไม่สามารถประสบผลสำเร็จได้เลย       3.  ระบุปัญหา   ⏪               ให้ที่แต่ละฝ่ายต้องสร้างความชัดเจนของปัญหาร่วมกัน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ยากมากที่สุด เนื่องจากแต่ละฝ่ายต่าง ก็มุ่งเอาชนะ นำไปสู่ความขัดแย้งมากยิ่งขึ้น ต้องใช้หลักมนุษยสัมพันธ์เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจกันและกัน       4.  แสวงหาทางเลือกและประเมินทางเลือก   ⏪               ให้ทั้งสองฝ่ายหาแนวทางเพื่อการแก้ปัญหา โดยทางเลือกดังกล่าวจะต้องได้รับการยินยอม และเป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่าย ตกลงกันได้ลงตัว      5.  สรุปแนวทางและนำทางเลือกที่เหมาะสมไปใช้  ⏪                ให้แต่ละฝ่ายรับรู้ในข้อตกลง แล้วนำข้อตกลงไปปฏิบัติ ซึ่งอาจมีการเจร

งานครั้งที่ 1 ผังโครงสร้าง การบริหารงานของ บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มาหาชน)

รูปภาพ
ผังโครงสร้าง การบริหารงานของ บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มาหาชน) ในแผนก Machine นั้นมีโครงสร้างองค์กรที่เป็นแบบ โครงสร้างองค์การตามสายงานหลัก ( Line Organization Structure) การจัดรูปแบบโครงสร้างให้มีสายงานหลัก และมีการบังคับบัญชาจากบนลงล่างลดหั่นเป็นขั้น ๆ จะไม่มีการสั่งการแบบข้ามขั้นตอนในสายงาน การจัดองค์การแบบนี้ อาจจะคำนึงถึงสภาพของงานที่เป็นจริง เช่น แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ หรือแบ่งตามอาณาเขต หรือแบ่งตามประเภทของลูกค้า หรือแบ่งตามกระบวนการ ผลดีของโครงสร้างแบบนี้มีหลายประการ เช่น การจัดโครงสร้างด้วยรูปแบบที่เข้าใจง่าย การบังคับบัญชาตามสายงานเป็นขั้นตอน ฉะนั้นจุดใดที่มีการปฏิบัติงานล่าช้าก็สามารถตรวจสอบได้รวดเร็ว จากผู้บังคับบัญชาในระดับนั้นได้ง่าย

งานชิ้นที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร

รูปภาพ
กิจกรรม 5ส  เป็นกระบวนการหนึ่งที่เป็นระบบมีแนวปฏิบัติ ที่เหมาะสมสามารถนำมาใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงานให้ดีขึ้น ทั้งในส่วนงานด้านการผลิต และด้านการบริการ ซึ่งนำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร ได้อีกทางหนึ่ง                  สะสาง Seiri  (เซริ)  คือ การแยกระหว่างของที่จำเป็นต้องใช้กับของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ขจัดของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทิ้งไป                  สะดวก Seiton  (เซตง)  คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้ให้เป็นระเบียบ สามารถหยิบใช้งานได้ทันที                  สะอาด Seiso  (เซโซ)    คือการปัดกวาดเช็ดถูสถานที่   สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ให้สะอาดอยู่เสมอ                  สุขลักษณะ Seiketsu  (เซเคทซึ)  คือ การรักษา และปฏิบัติ 3ส ได้แก่ สะสาง สะดวก และสะอาดให้ดีตลอดไป                   สร้างนิสัย Shitsuke  (ซึทซึเคะ)  คือ การรักษาและปฏิบัติ 4ส หรือสิ่งที่ กำหนดไว้แล้วอย่างถูกต้องจนติดเป็นนิสัย  

งานปฏิบัติ 18

รูปภาพ
Code/////////////////////////////////////////// #include <SoftwareSerial.h> #include <DHT11.h> //============================================= #include <Wire.h> #include <LiquidCrystal_I2C.h> //LiquidCrystal_I2C lcd(0x27, 16, 2); LiquidCrystal_I2C lcd(0x3F, 16, 2); SoftwareSerial ArduinoSerial(3, 2); // RX, TX //============================================= int SW_ON = 4,SW_OFF = 5,pin=6;//กำหนดขา INPUT int Sun = 9,CSun = 0,Relay1 = 12, Relay2 = 11; //กำหนดขา OUTPUT   int ATL = A0,ATH = A1;//กำหนดขา Analog int VTL1 = 0,VTH1 = 0,TL = 0,TH =0,VRHL = 50,VRHH = 80; DHT11 dht11(pin); //============================================= void setup() {   lcd.begin();   Serial.begin(115200);   ArduinoSerial.begin(4800);   while (!Serial){     ;     }   //=====================================================   lcd.setCursor(0, 0);lcd.print("Elec Pattayatech");   lcd.setCursor(0, 1);lcd.print("Smart Farm 2016 ");   delay(5000);

งานปฏิบัติ 17

รูปภาพ
Code///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////// #include <LiquidCrystal_I2C.h> LiquidCrystal_I2C lcd(0x27,16,2); int aVal=0,tempaVal=0; const int SW_ON = 2; const int led_ON =  13; int CSW_ON = 0; int C_CSW_ON =0; int Relay1=12,Relay2=11,Relay3=10,Relay4=9; int sensorPin = A0; int sensorValue = 0; void setup() {   lcd.backlight();   lcd.begin();   Serial.begin(9600);   pinMode(led_ON, OUTPUT);pinMode(SW_ON, INPUT);   pinMode(Relay1,OUTPUT);pinMode(Relay2,OUTPUT);   pinMode(Relay3,OUTPUT);pinMode(Relay4,OUTPUT); //   digitalWrite(Relay1,HIGH);digitalWrite(Relay2,HIGH);   digitalWrite(Relay3,HIGH);digitalWrite(Relay4,HIGH);   lcd.setCursor(0,0);   lcd.print("Mechatronic2018");   lcd.setCursor(0,1);   lcd.print("standby"); } //END Setup void loop() {   CSW_ON = digitalRead(SW_ON);   sensorValue = analogRead(sensorPin);//Serial.println(sensorValue);   //=========================================